หน้าเว็บ

ปฎิสัมพันธระหวางพลังงานแมเหล็กไฟฟาที่มีตอวัตถุบนพื้นโลก

        พลังงานแมเหล็กไฟฟาจากดวงอาทิตยมักจะถูกดูดกลืนโดยความชื้นและ กระจัดกระจายโดยอนุภาคในบรรยากาศ (เชนผงฝุน) กอน ที่จะสงตอมายังพื้นโลก ซึ่งประกอบไปดวยวัตถุและสิ่งปกคลุมดินหลายชนิด ปฎิกิริยาระหวางพลังงานแมเหล็กไฟฟากับวัตถุบนพื้นโลกจะขึ้นอยูกับคุณสมบัติของวัตถุ และความขรุขระของพื้นผิววัตถุ คือวัตถุจะตองมีความขรุขระมากพอที่จะใหรังสีสามารถสรางปฏิสัมพันธได ถาหากพื้นผิวของวัตถุเรียบเกินไปก็จะทําใหรังสีความรอนสะทอนกลับหมดทําใหมีรายละเอียดของขอมูลที่ตองการทราบสงผานไปยังเครื่องบันทึกนอย แตในสภาพความเปนจริงแลวพื้นผิวโลกโดยมากจะขรุขระจึงไมคอยเกิดปญหาในการบันทึกขอมูล

       ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหวางพลังงานแมเหล็กไฟฟากับวัตถุบนพื้นโลก แบงออกไดเปน 3 ชนิดคือ การดูดกลืนพลังงาน (Absorption) การสงผานพลังงาน (Transmission)และการสะทอนพลังงาน (Reflection) เราสามารถที่จะจําแนกชนิดของวัตถุบนพื้นผิวโลกออกไดโดยอาศัยคุณสมบัติทางชวงคลื่น (Spectral Characteristics) อยางไรก็ตามวัตถุบางอยางไมสามารถแบงแยกออกจากกันไดโดยเด็ดขาด ดังนั้นการศึกษารีโมทเซนซิงจึงจําเปนอยางยิ่งที่ผูศึกษาตองเขาใจคุณสมบัติชวงคลื่นของวัตถุที่สนใจศึกษา และในขณะเดียวกันตองทราบถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอคุณบัติเชิงคลื่นของวัตถุเหลานั้นกอนที่จะดําเนินการแปลภาพดาวเทียมนั้น ผูแปลจะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับปฏิสัมพันธระหวางพลังงานแมเหล็กไฟฟากับวัตถุ 3 ชนิด ใหญๆ บนพื้นโลกไดแก พืช ดิน และ น้ํา





ที่มา : http://www.ee.eng.cmu.ac.th/~tharadol/teach/912706/geo_03.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น