หน้าเว็บ

หลักการเบื้องตนในการสํารวจจากระยะไกล

การบันทึกขอมูลจากระยะไกล สามารถแบงออกไดเปน 4 สวน (Curran, 1985; Japan
Association on Remote Sensing,1993; Lillesand & Kiefer, 1994) ดังแสดงในรูปที่1 คือ

        (1) แหลงพลังงาน (Source) ที่เปนตนกําเนิดของพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟามาจาก
สามแหลง คือ พลังงานจากดวงอาทิตย การแผพลังงานความรอนจากพื้นผิวโลก และระบบ
บันทึกขอมูล ในขณะที่มีการทํางานนั้นจะเกิดขบวนการ การแผรังสีความรอน (Radiation)
การนําความรอน (Conduction) และการพาความรอน (Convection)
        (2) ปฏิกิริยาที่มีตอพื้นผิวโลก เปนปริมาณของการแผรังสี หรือการสะทอนพลังงาน
จากผิวโลก ซึ่งจะมากหรือ นอยก็ขึ้นอยูกับชนิดของวัตถุบนพื้นโลก เนื่องจากวัตถุตางชนิดกัน
จะมีสมบัติในการสะทอนแสงและการสงพลังงานความรอนแตกตางกันในแตละชวง คลื่นแม
เหล็กไฟฟา ความแตกตางนี้สามารถนํามาใชประโยชนในการจําแนกประเภทของวัตถุตางๆ
        (3) ปฏิกิริยาที่มีตอบรรยากาศและเครื่องบันทึกขอมูล พลังงานแมเหล็กไฟฟาที่ผาน
เขาไปในชั้นบรรยากาศจะถูกกระจัดกระจาย (scatter) โดยธาตุองคประกอบของบรรยากาศ
ซึ่งมีอิทธิพลตอคุณภาพของภาพขอมูล
        (4) เครื่องวัดจากระยะไกล (remote sensor) หรือ เครื่องบันทึกพลังงานที่สะทอนจาก
พื้นผิวของวัตถุ เชน กลองถายรูป หรือเครื่องกวาดภาพ เปนตน เครื่องวัดนี้จะถูกติดตั้งไวใน
ยานสํารวจ (platform) ไดแกเครื่องบินหรือดาวเทียม ในปจจุบันไดมีการพัฒนาเครื่องวัดชนิดใหม
ขึ้นมาใชอยางมากมายเพื่อใชงานเฉพาะเรื่อง ซึ่งพอจะจําแนกประเภทเครื่องวัดได 2 ชนิดคือ
              - แอกทีฟเซนเซอร (Active Sensor) หมายถึงเครื่องวัดที่สามารถรับ และบันทึก
สัญญาณขอมูลซึ่งสะทอนจากวัตถุที่ตองการศึกษา โดยใชเครื่องวัดที่สามารถสรางคลื่น
แมเหล็กไฟฟาขึ้นไดเอง แลวสงผานใหไปกระทบวัตถุที่ตองการศึกษานั้น เพื่อใหสะทอนพลังงาน
กลับคืนออกมา (Backscatter Radiation) แลวทําการบันทึก ตัวอยางเครื่องวัดชนิดนี้ไดแก
ระบบเรดาร (RADAR)
              - พาสซีฟเซนเซอร (Passive Sensor) คือเครื่องวัดที่สามารถตรวจรับและบันทึกสัญญาณ
ขอมูลที่สะทอนหรือเปลงจากแหลงกําเนิดธรรมชาติเชน พลังงานจากดวงอาทิตยระบบบันทึก
ขอมูลมีขอจํากัดในเรื่องของความสามารถในการบันทึก ขนาด ของวัตถุ โดยเฉพาะวัตถุขนาดที่เล็กที่
สุดที่สามารถมองเห็นได โดยแยกออกจากสภาพแวดลอมโดยรอบ เรียกขอจํากัดนี้วา 
“Spatial Resolution” ซึ่งจะเปนเครื่องชี้วาระบบบันทึกมีความสามารถดีเพียงใดในการเก็บราย
ละเอียดตาง ๆ











ที่มา : http://www.ee.eng.cmu.ac.th/~tharadol/teach/912706/geo_03.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น