หน้าเว็บ

ปฎิสัมพันธระหวางพลังงานแมเหล็กไฟฟาที่มีตอพืช

        คาการสะทอนแสงของพืช จะแปรผันไปตามความยาวของชวงคลื่น การที่จะทราบวาทําไมพืชแตละชนิดใหคาสะทอนแสงแตกตางกันออกไปจะตองพิจารณาถึงความแตกตาง ในเรื่องสีของรงควัตถุในใบพืชโครงสรางภายในของพืชและ น้ําที่อยูในพืช
       พืชชั้นสูงมักประกอบไปดวย คลอโรฟลด (Chlorophyll) คาโรทีน (Carotene) และแซนโตฟลด (Xanthophyll) ซึ่งมีความสามารถในการดูดกลืนแสงที่มองเห็นไดเพื่อใชในขบวนการสังเคราะหแสง และเปนปจจัยที่กอใหเกิดรูปแบบการสะทอนแสงของพืช ลักษณะการสะทอนแสงนี้เรียกวา “ลายเซ็นชวงคลื่น” (Spectral Signature) ลายเซ็นชวงคลื่นของพืช ดิน และ น้ําจะมีคาแตกตางกันออกไป
       พืชที่สมบูรณจะมีการสะทอนพลังงานต่ําในชวงคลื่น สีน้ําเงินและสีแดง (0.45-0.65 ℵm)เนื่องจากมีการดูดกลืนพลังงานเพื่อใชในการสังเคราะหแสง จึงเรียกชวงคลื่นนี้วา เปนชวงคลื่นที่ถูกดูดกลืนโดยคลอโรฟลด (Chlorophyll Absorption Bands) พืชสะทอนแสงปานกลางในชวงคลื่น สีเขียว แตจะสะทอนพลังงานสูงขึ้นในชวงคลื่น อินฟราเรดใกล (Near Infrared)ซึ่งเปนผลมาจากโครงสรางภายใน (Cell Structure) ของพืช ทําใหสามารถจําแนกประเภทของพืชได นอกจากนี้แลว ชนิดของพืช ความหนาแนนของใบ และเรือนยอดก็ยังมีบทบาทตอการสะทอนแสงอีกดวย พืชที่มีใบหนา เชนขาวโพด ยอมใหการสงผานพลังงานนอยแตจะดูดกลืนพลังงานมาก แตพืชที่มีใบบาง เชน กะหล่ําแกว จะสงผานพลังงานมากแตมีการดูดกลืนนอยเปนตน
       ในชวงคลื่นอินฟราเรดกลาง (1.3- 2.6 ℵm) คาสะทอนแสงจากพืชจะลดลง เนื่องจากน้ํา
ในใบพืชจะดูดซับพลังงานในชวงคลื่นนี้ไว (ชวง 1.49, 1.6 และ 2.7ℵm ) จึงเรียกชวงคลื่นนี้วา
“Water Absorption Band” (รูปที่ 3)





ที่มา : http://www.ee.eng.cmu.ac.th/~tharadol/teach/912706/geo_03.pdf


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น