หน้าเว็บ

ดาวเทียมสำรวจแผ่นดิน (Land Satellites- LANDSAT)

  ดาวเทียมสํารวจแผนดินมีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีวิวัฒนาการเริ่มจากการสงดาวเทียม LANDSAT-1 (ค.ศ. 1972) ของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังสงดาวเทียมดวงถัดมา (LANDSAT-4-5-6) ปจจุบันใชขอมูลจาก LANDSAT- 5 และ LANDSAT- 7 (ค.ศ.1999) และดาวเทียมดวงอื่น ๆ เชน ดาวเทียม SPOT ของประเทศฝรั่งเศส IKONOSขององคการเอกชนของสหรัฐอเมริกา รูปที่ 5 เปนตัวอยางดาวเทียมสํารวจแผนดินตั้งแตยุคแรกเริ่มมาจนกระทั่งถึงยุคปจจุบัน

        ดาวเทียมสํารวจแผนดินจัดเปนดาวเทียมที่มีรายละเอียดปานกลาง เชน

  1. แบบกวาดภาพหลายชวงคลื่น (Multispectral Scanning System) หรือเรียกยอ ๆ วา MSS ประกอบดวย 4 ชวงคลื่น มีรายละเอียดจุดภาพประมาณ 80 เมตรและทําการบันทึกขอมูลในแถบชวงคลื่นสีเขียว 1 ชวงคลื่น สีแดง 1 ชวงคลื่น และอินฟราเรดใกล 2 ชวงคลื่น ตารางที่ 1 แสดงคุณสมบัติเชิงพื้นที่ (spatial characteristic)และเชิงคลื่น (spectral characteristic) และการประยุกตใชขอมูลจากดาวเทียมชนิดนี้
  2. LANDSAT Thematic Mapper (TM ) มีรายละเอียดจุดภาพ 30 เมตรทําการบันทึกขอมูลในแถบชวงคลื่น 7 ชวงคลื่น คือ น้ําเงิน เขียว แดง อินฟราเรดใกลอินฟราเรดกลาง และ ชวงคลื่นความรอน (Thermal Wavelength) คุณสมบัติและการประยุกตใชขอมูลจากดาวเทียมชนิดนี้แสดงในตารางที่ 2


       ปจจุบันนี้สามารถรับขอมูลจากดาวเทียมดวงที่ 7 คือ Enhanced Thematic Mapper(ETM+) ซึ่งใหรายละเอียดจุดภาพ 15 เมตร และเพิ่มรายละเอียดเชิงคลื่นจาก LANDSAT- 5 อีก 1ชวงคลื่น คือแบนด 8 มีรายละเอียดจุดภาพประมาณ 15 เมตร











ที่มา : http://www.ee.eng.cmu.ac.th/~tharadol/teach/912706/geo_03.pdf



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น